วันศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2555

ภาระงานที่ 1


ชื่อนักศึกษา นางสาวสุกัญญา  เหล่าตุ่นแก้วสาขาวิชา ภาษาไทย  รหัส 53181010245
ภาระงานที่ 1: การวิเคราะห์เนื้อหาและกําหนดวัตถุประสงค์ การเรียนรู้(content analysis)    เป็นขั้นตอนในการกำหนดขอบเขตของเนื้อหาและกำหนดชื่อบทเรียน ที่วิเคราะห์จากแผนการสอนที่ได้จัดทําไว้ แล้วโดยแยกเป็นการกําหนดหัวข้อเนื้อหาและวัตถุประสงค์การเรียนรู้ จากนั้นจึงระบุรายละเอียดของเนื้อหาที่จะแสดงในหน้าเว็บเพจ หรือสไลด์ในการนําเสนอ สามารถออกแบบได้ ดังตาราง ดังนี้
ชื่อบทเรียน เครื่องหมายวรรคตอน

หัวข้อเนื้อหา / วัตถุประสงค์การเรียนรู้
รายละเอียดของเนื้อหา
หัวข้อเนื้อหา
เครื่องหมายวรรคตอน


 ๑. มหัพภาค  .




๒. จุลภาค ,



๓. ปรัศนี ?

๔. นขลิขิต (    )

๕. อัศเจรีย์  !


๖. อัญประกาศ "     " 



๗. บุพสัญญา  





๘. สัญประกาศ  ____ 

๙. ไปยาลใหญ่ ฯลฯ


๑๐. ไปยาลน้อย 
 ๑๑. ยัติภังค์  - 
๑๒. ไม้ยมก  
๑๓. เครื่องหมายตก  + 
๑๔.เครื่องหมายเว้นวรรค



วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
- ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายของเครื่องหมายวรรคตอนได้
-ผู้เรียนสามารถใช้เครื่องหมายวรรคตอนในการอ่านและเขียนได้ถูกต้อง
 -ผู้เรียนใช้ทักษะทางภาษาและพัฒนาความรู้และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

         
เครื่องหมายวรรคตอนเป็นสัญลักษณ์ที่จะช่วยให้สื่อความหมายได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
เครื่องหมายที่สำคัญๆ คือ
  เป็นเครื่องหมายรูปจุด  มีวิธีใช้ดังนี้
            -  ใช้เขียนหลังตัวอักษรเพื่อแสดงว่าเป็นคำย่อ  เช่น  พุทธศักราช  =  พ.ศ.
            -  ใช้เขียนตำแหน่งแสดงจุดทศนิยม  เช่น  ๐๙.๓๐ น.
            -  ใช้เขียนหลังตัวเลจกำกับข้อย่อย  เช่น  1.   2.  3.
 มีวิธีใช้  ดังนี้
            - ใช้เขียนคั่นคำเพื่อแยกข้อความออกจากกัน  เช่น  ผลไม้หลากชนิด เช่น  มะม่วง , มังคุด , ละมุด , ลำไย
            - ใช้คั่นตัวเลข  เช่น  ,๒๐๐ บาท
 คือ  เครื่องหมายคำถาม  ใช้เขียนหลังประโยคคำถาม เช่น  เธอจะไปไหน ?
 คือ เครื่องหมายวงเล็บ  ใช้เขียนคร่อมข้อความเพื่ออธิบายคำที่อยู่ข้างหน้า เช่น พระเนตร (ตา )
 คือ เครื่องหมายตกใจ  มีวิธิใช้ดังนี้
                -  ใช้หลังคำอุทาน เช่น  โอ๊ย !
                -  ใช้เขียนหลังคำเลียนเสียงธรรมชาติ   เช่น ปัง!
 เครื่องหมายคำพูด  วิธีการใช้  คือ
                -  ใช้คร่อมข้อความที่ต้องการเน้น  เช่น  แม่บอกว่า " ลูกต้องเป็นเด็กดี "
                -  เพื่อเน้นข้อความให้เด่นชัดขึ้น 
 เป็นเครื่องหมาย  ละ  มีวิธีการใช้ดังนี้
                - ใช้แทนคำหรือข้อความบรรทัดบน  เพื่อไม่ต้องเขียนซ้ำอีก เช่น
                        มะม่วง    กิโลกรัมละ  ๒๐  บาท
                       มังคุด           "         ๒๕ บาท
                       ทุเรียน          "        ๖๐  บาท
 เครื่องหมายขีดเส้นใต้  ใช้ขีดใต้ข้อความเพื่อให้สังเกตได้ชัดเจน
                     เช่น  ฉันไม่ต้องการอะไรมากไปกว่า ปัจจัยสี่
 เป็นเครื่องหมาย ละ ข้อความ  ใช้เขียนหลังข้อความที่ยังไม่จบ  แสดงว่า
            ยังมีข้อความประเภทเดียวกันอีกมาก  เช่น  บ้านฉันปลูกดอกไม้หลายชนิด เช่น มะลิ กุหลาบ ชบา ฯลฯ
 เป็นเครื่องหมายละข้อความนั้นๆให้สั้นลง   เช่น  กรุงเทพฯ
 เป็นเครื่องหมายแยกพยางค์ เช่น สวรรคต  อ่านว่า  สะ - หวัน - คด
 ใช้เขียนหลังคำเพื่อออกเสียงอ่านซ้ำ  เช่น  ขาวๆ ดำๆ
 เป็นเครื่องหมายตีนกาเล็กๆ เขียนระหว่างคำที่เขียนตกลงไป
 เป็นเครื่องหมายช่องว่างเมื่อจบประโยค เช่น  ในน้ำมีปลาหลายชนิด เช่น ปลาหมอ ปลาช่อน

วันพฤหัสบดีที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2555

ประวัติส่วนตัว

แนะนำตนเอง



  • ชื่อ นางสาวสุกัญญา เหล่าตุ่นแก้ว
  • ชื่อเล่น ใหม่
  • อายุ 20ปี
  • เกิดวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2534
  • ที่อยู่ 123 ม.2 ต.เถินบุรี อ. เถิน จ. ลำปาง 52160
  • ที่อยู่ปัจจุบัน 400 ม.7 ต.พระบาท อ.เมือง จ.ลำปาง 52000
  • กำลังศึกษาอยู่ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย
  • ลักษณะนิสัย ตลก ร่าเริง ขี้อาย ไม่ชอบการถูกเอารัดเอาเปรียบ
  • งานอดิเรก อ่านหนังสือ ฟังเพลง
  • ความสามารถพิเศษ ทำอาหาร
  • คติประจำใจ ก้าวไปข้างหน้าอย่างช้าๆ แต่จงเป็นก้าวที่ยิ่งใหญ่